ฟิสิกส์ (Physics) เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทำได้โดยการสังเกต การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือทำนายสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และความรู้นี้สามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559
หน่วยSI
ระบบหน่วยวัดมาตราฐานระหว่างชาติ ดั่งเดิมที่ใช้สำหรับแสดงปริมาณของสิ่งต่างๆ นั้นมีอยู่ 2 ระบบ คือระบบ ระบบเมตรริก (CGS และ MKS) และระบบอังกฤษ (FPS) แต่หน่วยวัดทั้งสองเป็นหน่วยที่ไม่สะดวกในการใช้งาน และซื่อของหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ บางครั้งก็ใช้ไม่เหมือนกันดังนั้นในปี ค.ศ. 1960ประเทศที่พัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมจึ่งได้ร่วอ่านเพิ่มเติม
คำอุปสรรค
คำอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) ได้ เช่น ระยะทาง 0.002 เมตร คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณและสัญลักษณ์ แสดงไว้ในตารอ่านเพิ่มเติม
เลขนัยสำคัญ
เมื่อปริมาณบางอย่างที่วัดออกมา ค่าที่วัดได้จะได้ค่าที่แน่นอนค่าหนึ่งซึ่งแสดงถึงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัด หรือคิดคำนวณออกมาได้ แต่มีบางค่าที่วัดได้ไม่แน่นอน ค่าไม่แน่นอนที่ได้มานี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น คุณภาพของเครื่องมือ และอุปกรณ์, ทักษะของการทดลอง และจำนวนของการทำการวัด อ่านเพิ่มเติม
ค่าความคลาดเคลื่อน
ความคลาดเคลื่อน (Error) หมายถึง ค่าที่วัดได้ไม่เท่ากับค่ามาตรฐาน ซึ่งมีได้สองทาง ถ้าค่าที่วัดได้มากกว่าค่ามาตรฐาน เรียกว่าค่าคลาดเคลื่อนทางบวก และหากได้ค่าที่วัดน้อยกว่า มาตรฐานเรียกว่าค่าคลาดเคลื่อนทางลบ
ความคลาดเคลื่อนมี 2 แบบ คือ ความคลาดเคลื่อนอย่างมี ระบบ (Systematic error) และ ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (Random error)อ่านเพิ่มเติม
ความคลาดเคลื่อนมี 2 แบบ คือ ความคลาดเคลื่อนอย่างมี ระบบ (Systematic error) และ ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (Random error)อ่านเพิ่มเติม
ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณ (Quantity) วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยายเชิงข้อมูลพรรณนา ตามสภาพการรับรู้ของมนุษย์ เช่น การบรรยายรูปลักษณะ สี กลิ่น รส และเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาข้อมูลเชิงตัวเลข ซึ่งได้จากการสังเกต และเครื่องมือวัด เช่น ความยาว มวล เวลา ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์แบ่งอ่านเพิ่มเติม
การคำนวณเวกเตอร์
การรวมเวกเตอร์ หมายถึง การบวกหรือลบกันของเวกเตอร์ตั้งแต่ 2 เวกเตอร์ ขึ้นไป ผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณเวกเตอร์ เรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) ซึ่งพิจารณาได้ ดังนี้
1.1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป ทำได้โดยเขียนเวกเตอร์ที่เป็นตัวตั้ง จากนั้นเอาหางของเวกเตอร์ที่เป็นผลบวกหรือผลต่าง มาต่อกับหัวของเวกเตอร์ตัวตั้ง โดยเขียนให้ถูกต้องทั้งขนาดและทิศทาง เวกเตอร์ลัพธ์หาได้โดยการวัดระยะทาง จากหางเวกเตอร์แรกไปยังหัวเวกเตอร์สุดท้ายอ่านเพิ่มเติม
1.1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป ทำได้โดยเขียนเวกเตอร์ที่เป็นตัวตั้ง จากนั้นเอาหางของเวกเตอร์ที่เป็นผลบวกหรือผลต่าง มาต่อกับหัวของเวกเตอร์ตัวตั้ง โดยเขียนให้ถูกต้องทั้งขนาดและทิศทาง เวกเตอร์ลัพธ์หาได้โดยการวัดระยะทาง จากหางเวกเตอร์แรกไปยังหัวเวกเตอร์สุดท้ายอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)